Welcome

วันเสาร์ที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2556

สรุปวิจัย เรื่องการพัฒนาทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยโดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชุดแบบฝึกหัด

ความหมายของทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร
                สรุปทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ หมายถึง ความสามารถทางการคิดและความสามารถในการแสวงหาความรูที่ไดรับการฝึกฝนจนชํานาญกลายมาเปนทักษะทางปญญา กอใหเกิดเปนพฤติกรรมการเรียนรูที่อยูในตัวของแตละบุคคล

โดยมีลักษณะสําคัญของทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 3 ประการ ดังนี้
1.   กระบวนการทางวิทยาศาสตรเปนทักษะทางสติปญญา โดยแตละกระบวนการ เปนทักษะทางสติปญญาเฉพาะ นักวิทยาศาสตร์ ใชเพื่อทําใหเกิดความเขาใจในปรากฏการณธรรมชาติต่างๆ
 2. แตละทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรวินิจฉัยหรือจำแนกไดจากพฤติกรรม ของนักวิทยาศาสตร ซึ่งสามารถสอนใหนักเรียนเกิดการเรียนรูและมีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
 3. แตละทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรสามารถถายโอนจากวิทยาศาสตรไปยังสาขาวิชาอื่นได้  และสามารถนําไปใช้เป็นหลักในการคิดอยางมีเหตุผลและใช้ในการแก้ปญหาในชีวตประจำวันไดดวย

ทักษะกระบวนการวิทยาศาสตรขั้นพื้นฐาน (Basic Science Process Skills) มี 8 ทักษะ ดังนี้
 1. ทักษะการสังเกต (Observation) หมายถึง ความสามารถในการใชประสาท สัมผัสอยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยางรวมกันเขาไปสัมผัสโดยตรงกับวัตถุหรือเหตุการณ์โดยมีจุดประสงค์เพื่อหารายละเอียดของสิ่งนั้นๆ
 2. ทักษะการวัด (Measurement) หมายถึง ความสามารถในการใช้เครื่องมือวัดหาปริมาณของสิ่งตางๆ ไดอยางถูกตองโดยมีหนวยกํากับและรวมไปถึงการใช้เครื่องมืออยางถูกตอง
 3. ทักษะการคํานวณ (Using numbers) หมายถึง ความสามารถในการบวก ลบ คูณ หาร ตัวเลขที่แสดงคาปริมาณของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ซึ่งไดจากการสังเกต การวัดหรือการทดลอง
 4. ทักษะการจําแนกประเภท (Classification) หมายถึง ความสามารถในการจัดจําแนกหรือเรียงลําดับวัตถุหรือสิ่งที่อยูในปรากฏตางๆ ออกเปนหมวดหมูโดยมีเกณฑที่ใช้ใน การพิจารณา 3 ประการ คือ ความเหมือน ความแตกตาง และความสัมพันธ
 5. ทักษะความสัมพันธระหวางมิติของวัตถุกับเวลา (Space / Space Relation -ship and space / time relationship) หมายถึง ความสามารถในระบุความสัมพันธระหวางสิ่งตอไปนี้ ความสัมพันธระหวาง 2 มิติกับ 3 มิติ สิ่งที่อยูหนากระจกเงากับภาพในกระจกเปนซายขวาของกันและกันอยางไร ตําแหนงที่อยูของวัตถุหนึ่งกับอีกวัตถุหนึ่ง การเปลี่ยนแปลงตําแหนงที่อยูของวัตถุกับเวลาหรือมิติของวัตถุเปลี่ยนแปลงไปกับเวลา
 6. ทักษะการจัดกระทําและสื่อความหมายขอมูล (Organization data andcommunication) หมายถึงความสามารถในการนําขอมูลที่ไดจากการสังเกต การวัด การทดลองและจากแหลงอื่นๆ มาจัดใหม โดยวิธีการตางๆ เชน การจัดเรียงลําดับ การจัดแยกประเภทเพื่อใหผูอื่นเขาใจความหมายของขอมูลชุดนั้นๆ ดีขึ้น โดยการนําเสนอในรูปตาราง แผนภูมิ
แผนภาพ กราฟ
 7. ทักษะการลงความเห็นจากขอมูล (Inferring) หมายถึง ความสามารถในการนําเสนอ อธิบายขอมูลที่มีอยูซึ่งไดมาจากการสังเกต การวัด การทดลอง โดยเชื่อมโยงกับความรูเดิมหรือประสบการณ์เดิม เพื่อสรุปความเห็นเกี่ยวกับขอมูลนั้นๆ
 8. ทักษะการพยากรณ (Prediction) หมายถึง ความสามารถทํานายหรือคาดคะเนสิ่งที่จะเกิดขึ้นลวงหนา


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น